
ชื่อเรื่อง |
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 |
ชื่อผู้วิจัย |
นางเสาวภา พรหมทา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม ตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ |
ปีที่พิมพ์ |
2559 |
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์ งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อหาประสิทธิภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อศึกษาทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 4) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังเรียน ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี การสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์ งานประดิษฐ์
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2559 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติ ร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่า t – test แบบ dependent และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1) ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี การสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.60/85.56 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) ผลการประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับ ดีมาก ( = 16.75) 3) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนโดยจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเท่ากับ ( = 34.18 S.D.= 0.81 ) สูงกว่าก่อนเรียนที่มีค่าเท่ากับ ( = 21.35 , S.D.=1.00) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ และ 4) ผลการศึกษาความคิดเห็นนักเรียนมีความคิดเห็นต่อรูปแบบการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.26,S.D. = 0.55 ) ซึ่งยอมรับสมมติฐานการวิจัย

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการ
ทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อผู้วิจัย นางเสาวภา พรหมทา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม ตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ
ปีที่พิมพ์ 2558
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อหาประสิทธิภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน และ 5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2558 จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทำงาน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ4) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติ ร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่า t –test แบบ dependent และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2มีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.62/85.15 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) ผลการประเมินทักษะกระบวนการทำงานของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ( =36.71) 3) ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนโดยจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียน มีค่าเท่ากับ ( = 19.47,S.D.= 1.50) สูงกว่าก่อนเรียนที่มีค่าเท่ากับ( = 34.00,S.D.= 0.88) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ และ 4) ผลการศึกษาความพึงพอใจ ต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.27,S.D.= 0.54) ซึ่งยอมรับสมมติฐานการวิจัย
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คุณครูเสาวภา พรหมทา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
ไพรบึงวิทยาคม
Share post:
เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม ตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์ งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อหาประสิทธิภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อศึกษาทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 4) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังเรียน ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี การสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์ งานประดิษฐ์
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2559 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติ ร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่า t – test แบบ dependent และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1) ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎี การสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.60/85.56 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) ผลการประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับ ดีมาก ( = 16.75) 3) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนโดยจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเท่ากับ ( = 34.18 S.D.= 0.81 ) สูงกว่าก่อนเรียนที่มีค่าเท่ากับ ( = 21.35 , S.D.=1.00) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ และ 4) ผลการศึกษาความคิดเห็นนักเรียนมีความคิดเห็นต่อรูปแบบการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ รายวิชาการประยุกต์งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.26,S.D. = 0.55 ) ซึ่งยอมรับสมมติฐานการวิจัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการ
ทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อผู้วิจัย นางเสาวภา พรหมทา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม ตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ
ปีที่พิมพ์ 2558
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อหาประสิทธิภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน และ 5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2558 จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทำงาน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ4) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติ ร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่า t –test แบบ dependent และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2มีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.62/85.15 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) ผลการประเมินทักษะกระบวนการทำงานของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ( =36.71) 3) ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนโดยจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียน มีค่าเท่ากับ ( = 19.47,S.D.= 1.50) สูงกว่าก่อนเรียนที่มีค่าเท่ากับ( = 34.00,S.D.= 0.88) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ และ 4) ผลการศึกษาความพึงพอใจ ต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทำงาน รายวิชางานประดิษฐ์ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.27,S.D.= 0.54) ซึ่งยอมรับสมมติฐานการวิจัย